วีดีโอการทำส้มตำกรอบ
วันเสาร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันมีร้านส้มตำมากมายซึงหารับประทานได้ง่ายและมีการแข่งขันกันเยอะมากเราจึงต้องหากลยุทธ์การขายที่ช่วยเพิ่มมูลค่าของสินค้าและเป็นที่น่าสนใจของลูกค้าด้วยเช่นกัน
เราจึงมีวิธีการทำส้มตำกรอบเพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาและนำไปปรับใช้ให้เกิดธุรกิจ
สร้างรายได้และเป็นการประยุกต์ใช้วัสดุทางธรรมชาติให้มีมูลค่าเพิ่มด้วย
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการทำส้มตำกรอบที่ถูกวิธีและอร่อย ส้มตำกรอบสามารถเป็นอาหารว่างได้ดี ซึ่งส้มตำกรอบจัดเป็นอาหารที่ช่วยเรียกน้ำย่อยจึงทำให้ยากอาหารมากขึ้นจึงเป็นเมนูที่น่าจะถูกใจและช่วยกระตุ้นอาการได้ดี
และการจัดทำโครงงานครั้งนี้สำเร็จรุร่วงไปได้ดัวยดีเนื่องจากได้คำปรึกษาจาก
อาจารย์ อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด กลุ่มของพวกเราจึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
บทที่1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้เราจะเห็นว่าตามร้านขายอาหารตามสั่งก็จะมีแต่ส้มตำที่มีความล้าสมัยไม่แปลกใหม่
และน่าตื่นตาตื่นใจเราจึงนำมะละกอมาทำเป็นส้มตำกรอบเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้าเพราะมีความแปลกใหม่
ส้มตำกรอบนี้สามารถนำมาทำเป็นอาชีพเสริมได้และยังสามารถนำแครทมาทำเป็นส้มตำกรอบได้อีกเช่นเดียวกัน
จุดมุ่งหมายของโครงงาน
1.เพื่อนำมะละกอมาประยุกต์
2.เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
3.เป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน
4.เพื่อฝึกการทำส้มตำกรอบ
สมมุติฐาน
หวังว่าจะได้รับประโยชน์จากการทำโครงงาน
เพื่อนำไปประกอบอาชีพในอนาคต และสามารถประยุกต์มะละกอมาทำอาหารที่มีความแปลกใหม่เพื่อเรียกน้ำย่อยและมีราคามากขึ้น
ขอบเขตการศึกษา
.ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับการทำส้มตำกรอบ
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความเป็นมาของมะละกอ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya Linn.ชื่อสามัญ : Papaya
ชื่อท้องถิ่น : มะก๊วยเต็ด ก๊วยเท็ด ลอกอ แตงตต้น หมักหุ่ง
ลักษณะทั่วไป:ไม้ ล้มลุกอายุสั้น ระบบรากดีทั้งระบบรากแก้วและรากแขนง อวบน้ำลำต้นกลวงและไม่ค่อแตกกิ่งก้านสาขาเหมือนไม้ชนิดอื่น ดอกเจริญออกมาตามซอกใบเหนือก้าน ผลมีรูปร่างแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ : (Scientific classification)
อาณาจักร : Plantea
ส่วน :Magnoliophyta
ชั้น :Magnoliopsida
อันดับ :Brassicales
วงศ์:CARECACEAE
สกุล:Carica
สปีชีส์ :C.papaya
วิสัยพืช (Plant habit) : ไม้ล้มลุก
ชนิดของใบ (Leaf type) :ใบเดี่ยว (simple)คือใบที่มีแผ่นใบเพียงแผ่นเดียวบนก้านใบที่แตกออกจากกิ่งหรือลำต้น
มะละกอ
เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่ประเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้
ลักษณะทั่วไป
มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลำต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ำยางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสีดำเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้
ประโยชน์
นอกจากการนำมะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม ฯลฯ หรือนำไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนำเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสำเร็จรูป บางครั้งนำไปทำเป็นยาช่วยย่อยสำหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้
สายพันธุ์มะละกอ
1. พันธุ์แขกนวล นิยมปลูกเพื่อขายผลดิบลักษณะผลยาวผิวผลเรียบสีเขียวอ่อน นวล เนื้อแน่นกรอบเหมาะสำหรับทำส้มตำ ผลสุกเนื้อสีส้มแดง
2. พันธุ์แขกดำ เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก ขายได้ทั้งผลดิบและผลสุก ผลสุกมีรสหวานมีเม็ดน้อยเนื้อสีส้มแดง ผลดิบเนื้อแน่นกรอบใช้ทำส้มตำได้ดี
3. พันธุ์แขกดำท่าพระ มีลักษณะดีคือมีความต้านทานต่อโรคไวรัสจุดวงแหวนได้ในระดับหนึ่ง ต้นเตีย น้ำหนักผลเฉลี่ย 1.5 กิโลกรัม/ผล เนื้อหนา ผลสุกเนื้อสีเหลืองอมส้ม
4. พันธุ์ฮอลแลนด์ เหมาะสำหรับขายผลสุก ผลรูปทรงกระบอก น้ำหนักผลประมาณ 8 ขีด ถึง 1.5 กิโลกรัม เนื้อสีส้มแดง เนื้อหนาและแน่น ไม่เละ มีกลิ่นหอม รสชาติอร่อย ความหวานสูง
5. พันธุ์ปากช่อง เหมาะสำหรับขายผลสุก เป็นพันธ์ที่สถานีวิจัยปากช่อง ทำการผสมและปรับปรุงพันธุ์จากมะละกอพันธุ์ซันไรส์โซโล ของประเทศใต้หวัน ขนาดผลประมาณ3-5ขีด เนื้อสีส้ม แข็งกรอบ รสหวานมีเปอร์เซนต์น้ำตาลสูง
6. พันธุ์เรดเลดี้ เป็นพันธุ์ที่ติดผลดก น้ำหนักผลเฉลี่ย 1.5-2 กิโลกรัม เหมาะสำหรับขายผลสุก เนื้อสีแดง หวานกรอบ กลิ่นหอม
การเรียงตัวของใบ (Leaf Arrangement) :การเรียงใบแบบตรงข้าม(opposite)การเรียงใบสองใบที่ออกจากข้อของลำต้นหรือกิ่งเป็นคู่ๆทำมุมประมาณ 180 องศา
รูปร่างของใบ (Leaf shape) :รูปแบบแฉกแบบนิ้วมือ(palmalifid)แผ่นใบที่หยักคล้ายนิ้วมือ โดยหยักลึกประมาณครึ่งหนึ่งของระยะจากขอบใบถึงเส้นกลางใบ
ขอบใบ (Leaf margin): พู(lobed)ขอบ ใบเว้าเป็นพู โดยเว้าเข้าประมาณครึ่งหนึ่งของระยะจากขอบใบถึงกลาง ใบ
usb microscop X 50
รูปร่างฐานใบ (Leaf base) :รูปโล่(peltate)ฐานใบที่มีก้านใบติดตรงกลางแผ่นใบ
)ปลายใบ (Leaf Apex) :ยาวคล้ายหาง ปลายใบเรียวคอดเป็นหางยาว
เมื่อทำการศึกษาโครงสร้างภายในของลำต้น รากและใบ มีลักษณะเป็นดังนี้
ลำต้นมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 230
รากมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 50
รากมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 230
ประโยชน์ : -รากนำมาต้มแก้ธาตุพิการ อาหารไม่ย่อย ช่วยขับปัสสาวะ
เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่ประเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้
ลักษณะทั่วไป
มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลำต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ำยางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสีดำเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้
ประโยชน์
นอกจากการนำมะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม ฯลฯ หรือนำไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนำเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสำเร็จรูป บางครั้งนำไปทำเป็นยาช่วยย่อยสำหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้
สายพันธุ์มะละกอ
1. พันธุ์แขกนวล นิยมปลูกเพื่อขายผลดิบลักษณะผลยาวผิวผลเรียบสีเขียวอ่อน นวล เนื้อแน่นกรอบเหมาะสำหรับทำส้มตำ ผลสุกเนื้อสีส้มแดง
2. พันธุ์แขกดำ เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมาก ขายได้ทั้งผลดิบและผลสุก ผลสุกมีรสหวานมีเม็ดน้อยเนื้อสีส้มแดง ผลดิบเนื้อแน่นกรอบใช้ทำส้มตำได้ดี
3. พันธุ์แขกดำท่าพระ มีลักษณะดีคือมีความต้านทานต่อโรคไวรัสจุดวงแหวนได้ในระดับหนึ่ง ต้นเตีย น้ำหนักผลเฉลี่ย 1.5 กิโลกรัม/ผล เนื้อหนา ผลสุกเนื้อสีเหลืองอมส้ม
4. พันธุ์ฮอลแลนด์ เหมาะสำหรับขายผลสุก ผลรูปทรงกระบอก น้ำหนักผลประมาณ 8 ขีด ถึง 1.5 กิโลกรัม เนื้อสีส้มแดง เนื้อหนาและแน่น ไม่เละ มีกลิ่นหอม รสชาติอร่อย ความหวานสูง
5. พันธุ์ปากช่อง เหมาะสำหรับขายผลสุก เป็นพันธ์ที่สถานีวิจัยปากช่อง ทำการผสมและปรับปรุงพันธุ์จากมะละกอพันธุ์ซันไรส์โซโล ของประเทศใต้หวัน ขนาดผลประมาณ3-5ขีด เนื้อสีส้ม แข็งกรอบ รสหวานมีเปอร์เซนต์น้ำตาลสูง
6. พันธุ์เรดเลดี้ เป็นพันธุ์ที่ติดผลดก น้ำหนักผลเฉลี่ย 1.5-2 กิโลกรัม เหมาะสำหรับขายผลสุก เนื้อสีแดง หวานกรอบ กลิ่นหอม
โครงสร้างของ"มะละกอ"
การเรียงตัวของใบ (Leaf Arrangement) :การเรียงใบแบบตรงข้าม(opposite)การเรียงใบสองใบที่ออกจากข้อของลำต้นหรือกิ่งเป็นคู่ๆทำมุมประมาณ 180 องศา
รูปร่างของใบ (Leaf shape) :รูปแบบแฉกแบบนิ้วมือ(palmalifid)แผ่นใบที่หยักคล้ายนิ้วมือ โดยหยักลึกประมาณครึ่งหนึ่งของระยะจากขอบใบถึงเส้นกลางใบ
ขอบใบ (Leaf margin): พู(lobed)ขอบ ใบเว้าเป็นพู โดยเว้าเข้าประมาณครึ่งหนึ่งของระยะจากขอบใบถึงกลาง ใบ
usb microscop X 50
รูปร่างฐานใบ (Leaf base) :รูปโล่(peltate)ฐานใบที่มีก้านใบติดตรงกลางแผ่นใบ
)ปลายใบ (Leaf Apex) :ยาวคล้ายหาง ปลายใบเรียวคอดเป็นหางยาว
เมื่อทำการศึกษาโครงสร้างภายในของลำต้น รากและใบ มีลักษณะเป็นดังนี้
ลำต้นมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 230
รากมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 50
รากมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 230
ใบมะละกอตัดตามขวาง usb microscop X 230
-ใบสด ย่างไฟแล้วบด นำไปประกบบริเวณที่ปวด และแก้ปวดไขข้อ
-เมล็ด ช่วยดับกระหาย และมีฤทธิ์ช่วยขับพยาธิ
-น้ำดอกมะละกอ ต้มช่วยขับประจำเดือนสตรี
-ยาง ช่วยย่อยสลายโปรตีน ช่วยลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
-ผลทั้งดิบและสุก เป็นอาหาร ช่วยระบาย ผลดิบมีน้ำย่อยช่วยให้เนื้อสัตว์เปื่อยยุ่ย
บทที่ 3
ผลการเรียนรู้
จากการศึกษาค้นคว้าและฝึกทำส้มตำกรอบผลที่ได้คือพวกเราได้เรียนรู้วิธีการทำส้มตำกรอบที่ถูกวิธี และได้ส้มตำกรอบที่อร่อยด้วยวิธีข้างล่างนี้
วัสดุอุปกรณ์
กระทะ
เตาถ่าน
จาน ชาม
สาก
ครก
มีด
ทัพพี
ที่ขูดมะละกอ
ส่วนผสม
1.แป้งทอดกรอบ
วิธีการทำส้มตำกรอบ
1.มะละกอปอกเปลือกขูดเป็นเส้นเตรียมไว้
2.ละลายแป้งทอดกรอบจนให้เป็นเนื้อเดียวกันและใส่มะละกอลงในอ่างผสม ใส่แป้งทอดกรอบคลุกเคล้าให้เข้ากันทั่ว
เราทอดทีละน้อยค่ะ จะได้กรอบชัวร์ เพราะใส่น้ำมันไม่เยอะ
4.ตักขึ้นพักให้สะเด็ดน้ำมันค่ะ
วิธีการทำน้ำจิ้มส้มตำกรอบ
ส่วนผสม
2.กระเทียม
3.มะนาว
4.น้ำตาล
5.น้ำปลา
6.กระเทียมดอง
7.เกลือ
8.ผงชูรส
5.น้ำปลา
6.กระเทียมดอง
7.เกลือ
8.ผงชูรส
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)